image

Polyurethane Self-Leveling Rough Surface Industrial Floor คือ การเคลือบพื้นด้วยสารโพลียูรีเทรน (Polyurethane : PU) แบบปาดไหลปรับระดับในตัวแบบหยาบ (Self-Leveling) หรือเรียกอย่างหนึ่งในวงการช่างเคลือบพื้นว่า "PU H/F" เป็นสารเคลือบพื้นที่ประกอบด้วยสารประเภท Water Base Polyurethane ซึ่งมีส่วนผสม 3 ส่วน คือ

Polyurethane Water Base Resin (Part A)
Polyurethane Water Base Hardener (Part B)
Cement & Pigment Filler (Part C)

สารทั้งสามส่วนเมื่อผสมรวมกันจะได้สารเคลือบพื้นที่มีคุณสมบัติที่สามารถรับแรงกระแทก การเสียดสี สามารถทนทานต่ออุณหภูมิความร้อนได้ 140 ํC และอุณหภูมิความเย็นได้ -40 ํC ต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแบบเฉียบพลัน (Thermal shock) สามารถทำความหนาได้ที่ 6-9mm. เหมาะกับบริเวณพื้นที่แห้งเปียกชื้นตลอดเวลาและบริเวณที่ต้องการความสะอาดมากเป็นพิเศษ เช่น ห้องคลีนรูม, โรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่ม, พื้นห้องเย็น, พื้นห้องจัดเก็บและแปรรูปอาหาร

สามารถประยุกต์ใช้สำหรับพื้นที่ดังนี้.-

พื้นโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
พื้นห้องครัวห้างสรรพสินค้าและโรงแรม
พื้นห้องเก็บอาหาร
ห้องเย็นและห้องคลีนรูม
คุณสมบัติเฉพาะของพื้น Polyurethane Self-Leveling (PU H/F)

จุดเด่น
สามารถรับแรงกระแทก การเสียดสี และอุณหภูมิเฉียบพลัน

ใช้เวลาน้อยในการติดตั้ง
ทนต่อกรดด่างและสารเคมีได้
เนื้อสารมีการยึดเกาะกับพื้นคอนกรีตที่ดีเยี่ยม
พื้นเรียบไร้รอยต่อเป็นผืนเดียวกัน
ป้องกันฝุ่นผงจากผิวคอนกรีต
พื้นไม่เป็นบ่อเกิดของเชื้อราและแบคทีเรีย
ทำความสะอาดได้ง่ายด้วยการเช็ด

จุดด้อย
ไม่เหมาะสำหรับการใช้งานกลางแจ้งที่มีแสงแดดตลอดเวลา
ฝ่ายขาย 0632563979

เคลือบพื้นผิว PU (Polyurethane) - เคลือบพื้นผิว Epoxy - รับติดตั้งพื้นสนามกีฬา (Sport Floor) - รับทำกันซึมดาดฟ้า (Waterproofing) งานเคลือบพื้นผิวสีผนัง (ISO Wall)

พื้นโพลียูรีเทน (Polyurethane Floor) มักถูกเรียกสั้นๆ ว่า "พื้น PU" คือ พื้นที่ผลิตจากวัสดุประเภท Water Base Polyurethane ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ

      1.  Polyurethane water base resin (Part A)

      2.  Polyurethane water base hardener (Part B)

      3.  Cement & Pigment filler (Part C)
 
พื้นโพลียูรีเทน (Polyurethane Floor)
 
"พื้น Polyurethane" (Polyurethane Floor)  สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ
 
เมื่อผสมรวมกันทั้งสามส่วนจะได้วัสดุเคลือบพื้น Polyurethane ที่มีคุณสมบัติรับแรงกระแทก การเสียดสี การสัญจร ฟอร์คลิฟท์ และทนทานต่ออุณหภูมิร้อนได้ +140°C และอุณหภูมิเย็นได้ -40°C นอกจากนี้ ยังสามารถผสม Silver Nano เพื่อใช้เป็นวัสดุเคลือบพื้นชนิดพิเศษ ที่มีความสามารถในการป้องกันเชื้อแบคทีเรียเพื่อทำเป็น "พื้นป้องกันแบคทีเรีย" (Anti-bacterial Floor) ทำให้ผู้ประกอบการผลิตและแปรรูปอาหารเรียกพื้น Polyurethane ว่า "Food Grade Floor" เพราะเป็นพื้นที่เหมาะสำหรับ พื้นโรงงานผลิตอาหาร พื้นห้องเย็น และพื้นในส่วนการจัดเก็บและแปรรูปอาหาร​

นโพลียูรีเทน (Polyurethane Floor) สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ


1. Polyurethane Heavy Duty Floor (Anti Slip Finished) รหัสสินค้า S-Crete HF  

พื้น Polyurethane ชนิดแข็งแรงทนทานพิเศษ ผิวหน้าเป็นแบบหยาบ สามารถทนอุณหภูมิ – 40°C ถึง 140°C เหมาะกับบริเวณพื้นที่เปียกชื้น เช่น พื้นห้องครัว เป็นต้น 


2. Polyurethane Medium Duty Floor (Smooth Finished) รหัสสินค้า S-Crete MF

พื้น Polyurethane ชนิดแข็งแรงปานกลาง ผิวเป็นแบบเรียบ นิยมใช้กับบริเวณที่มีอุณหภูมิอุณหภูมิไม่เกิน 100°C และอุณหภูมิติดลบไม่เกิน -20°C เหมาะกับบริเวณพื้นที่แห้งไม่สัมผัสน้ำ และต้องการความสะอาดมากเป็นพิเศษ

 
พื้นโพลียูรีเทน (Polyurethane Floor) มักถูกเรียกสั้นๆ ว่า "พื้น PU" คือ พื้นที่ผลิตจากวัสดุประเภท Water Base Polyurethane ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ

 

      1.  Polyurethane water base resin (Part A)

      2.  Polyurethane water base hardener (Part B)

      3.  Cement & Pigment filler (Part C)

 
 
 

 
พื้นโพลียูรีเทน (Polyurethane Floor)
 
"พื้น Polyurethane" (Polyurethane Floor)  สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ
 

 
เมื่อผสมรวมกันทั้งสามส่วนจะได้วัสดุเคลือบพื้น Polyurethane ที่มีคุณสมบัติรับแรงกระแทก การเสียดสี การสัญจร ฟอร์คลิฟท์ และทนทานต่ออุณหภูมิร้อนได้ +140°C และอุณหภูมิเย็นได้ -40°C นอกจากนี้ ยังสามารถผสม Silver Nano เพื่อใช้เป็นวัสดุเคลือบพื้นชนิดพิเศษ ที่มีความสามารถในการป้องกันเชื้อแบคทีเรียเพื่อทำเป็น "พื้นป้องกันแบคทีเรีย" (Anti-bacterial Floor) ทำให้ผู้ประกอบการผลิตและแปรรูปอาหารเรียกพื้น Polyurethane ว่า "Food Grade Floor" เพราะเป็นพื้นที่เหมาะสำหรับ พื้นโรงงานผลิตอาหาร พื้นห้องเย็น และพื้นในส่วนการจัดเก็บและแปรรูปอาหาร​
 
 
กรณีศึกษา​
 
 
พื้นโพลียูรีเทน (Polyurethane Floor) สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ


1. Polyurethane Heavy Duty Floor (Anti Slip Finished) รหัสสินค้า S-Crete HF  

พื้น Polyurethane ชนิดแข็งแรงทนทานพิเศษ ผิวหน้าเป็นแบบหยาบ สามารถทนอุณหภูมิ – 40°C ถึง 140°C เหมาะกับบริเวณพื้นที่เปียกชื้น เช่น พื้นห้องครัว เป็นต้น 


2. Polyurethane Medium Duty Floor (Smooth Finished) รหัสสินค้า S-Crete MF

พื้น Polyurethane ชนิดแข็งแรงปานกลาง ผิวเป็นแบบเรียบ นิยมใช้กับบริเวณที่มีอุณหภูมิอุณหภูมิไม่เกิน 100°C และอุณหภูมิติดลบไม่เกิน -20°C เหมาะกับบริเวณพื้นที่แห้งไม่สัมผัสน้ำ และต้องการความสะอาดมากเป็นพิเศษ
 
พื้นโพลียูรีเทน (Polyurethane Floor)
 
"พื้น Polyurethane" (Polyurethane Floor)
 
 
พื้นยางสังเคราะห์ (Athletic Floor) ที่ใช้สำหรับปูสนามในรูปแบบต่างๆ ส่วนใหญ่ ผลิตมาจากวัสดุโพลียูรีเทน เพื่อนำมาผลิตเป็น "พื้นสนามกีฬาแบบยืดหยุ่น" (Elastomeric Polyurethane Athletic Floor) โดยเริ่มจากการนำ Polyurethane มาผสมกับ Filler ประเภทผงยางดำ, ทราย หรือโพลิเมอร์อื่น ๆ โดยจะได้ พื้นยางสังเคราะห์ ทีมีคุณสมบัติแข็งแต่นิ่ม ยืดหยุ่นได้ดีเยี่ยม ทนทานต่อแรงกระแทกและการสัญจรไปมามากกว่า พื้นยางสังเคราะห์ชนิดอื่น
 
พื้นยางสังเคราะห์ (Athletic Floor)
 
คุณสมบัติเด่นของวัสดุโพลียูรีเทน (Polyurethane) ในการผลิต "พื้นยางสังเคราะห์ โพลียูรีเทน" (Polyurethane Athletic Floor หรือ PU Athletic Floor)

 
พื้นยางสังเคราะห์ประเภทโพลียูรีเทน (PU Athletic Floor) จะช่วยถนอมข้อเท้าและเข่า เพราะ Absorb แรงกระแทกได้ดี เป็นพื้นยางสังเคราะห์สนามกีฬาที่สามารถใช้ได้ในบริเวณสนามบาส หรือลานกลางแจ้ง เนื่องจากทนต่อแสงยูวี (UV Resistance) พื้นยางสังเคราะห์ประเภทโพลียูรีเทนจะมีคุณภาพ และความทนทานมากกว่าพื้นยางสังเคราะห์ ที่ทำมาจากยางมะตอย, พื้นยางสังเคราะห์ที่ผลิตจาก Bitumen ผสมทราย หรือพื้นสนามกีฬาที่ทำมาจากอะคริลิค (Acrylic)
 
 
 
ข้อควรระวังในการติดตั้ง "พื้นยางสังเคราะห์" โดยวัสดุโพลียูรีเทน

 

ข้อควรระวังในการติดตั้งพื้นยางสังเคราะห์ ประเภทโพลียูรีเทน เพื่อผลิตพื้นยางสังเคราะห์สนามกีฬา คือ ความชื้นจากน้ำใต้ดิน ซึ่งเป็นข้อควรระวังในการติดตั้ง พื้นยางสังเคราะห์ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น โพลียูรีเทน หรือ ประเภทอะคริลิค (Acrylic Athletic Floor) หากไม่มีการควบคุมความชื้นของชั้นคอนกรีตที่เหมาะสมอาจจะทำให้พื้นเกิดฟองอากาศ หลุดล่อนหมดความสวยงาม

ก่อนการติดตั้งพื้นยางสังเคราะห์ (Athletic Floor) ควรทดสอบความชื้นที่คอนกรีตก่อน หากความชื้นเกินกว่า 4% ควรติดตั้งวัสดุกันความชื้น Epoxy Moisture Barrier รหัสสินค้า SMARTFLOOR EPOGUARD ความหนา 3.0 mm. ก่อนการเคลือบพื้น เพื่อป้องกันการหลุดล่อนอันเนื่องมาจากแรงดันความชื้นที่มีอยู่ในคอนกรีต

 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้